เอกสารเผยแพร่

รายงานวิจัยการถอดบทเรียนจากแนวปฏิบัติที่ดี (Action Learning) โดยชุมชนใน 3 จังหวัดชายแดนใต้


   ผลการดำเนินงานกิจกรรมการถอดบทเรียนจากแนวปฏิบัติที่ดี (Action Learning) ในด้านการบริหารจัดการชุมชนในเขตสามจังหวัดชายแดนใต้ ประจำปี 2555 (โครงการสะพานเสริมสร้างประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปี 2) ที่ผ่านมา เป็นผลการดำเนินงานในพื้นที่ของชุมชนและที่ปรึกษาในพื้นที่ รับทุนสนับสนุนงบประมาณในการวิจัยเพื่อถอดบทเรียนที่ดี สามารถสรุปเป็นรายงานวิจัยโดยชุมชนเป็นผู้ดำเนินงาน ดังนี้
  1. กระบวนการสร้างจิตสานึกพลเมืองที่ดีในการพัฒนาชุมชนกรณีศึกษาชุมชนบ้านตันหยง คณะผู้วิจัย: นายอับดุลเราะมาน  อูมาร์  นายอับดุลย์มายิ  ตันหยงสะมะแอ   และนายรอนิง  ฮามะ  

  2. กลุ่มมุสลีมะฮฺในกระบวนการพัฒนาครอบครัวและชุมชน
    คณะผู้วิจัย: นางมายีดะห์ สะกะแย และ นายอับดุลมุตี โซ๊ะตะโละ)

  3. การจัดการตลาดชุมชน กรณีศึกษา : ศูนย์มัรกัสยะลา ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา
    คณะผู้วิจัย: นายรุสพี       มะดีเยาะ และ นายมุหเซน    ลาเตะ

  4. การจัดการโรงเรียนฮาฟิสอัลกุรอ่านกรณีศึกษาโรงเรียนฮาฟิสมัรกัสยะลา
    คณะผู้วิจัย: นายอนันต์  อาบู   นายอันวา   สะมะแอ และ นางสาวฮาลีเมาะ  ดือราแม

  5. การจัดรูปแบบการเรียนการสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม กรณีศึกษา: โรงเรียนลุกมานูลฮากีม
     คณะผู้วิจัย:   นางสาวสุวรรณา   เจ๊ะอาแว  และนางสาวซาปีย๊ะ   สาแม็ง

  6. การบริหารจัดการดูแลความปลอดภัยของชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.) : กรณีศึกษาชุมชนโสร่ง ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
    คณะผู้วิจัย: นายอาลี มะดือเระ  นายอาหะมัด  กีไร  นายมะดาโอะ ปูเตะ  นายการียา  กีไร นายมือลี  กาเว และนางสาวสารีหฮ๊ะ ตาหยงมัส

  7. การบริหารจัดการผังเมืองชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนหน้ามหาวิทยาลัยอิสลามยะลา (ชุมชนบาลาเซาะโต๊ะมุ) คณะผู้วิจัย : นางสาวปัทมาวาตี   มะสาวา และนายฮัมดี   บินหะรงค์
     

  8. การบริหารจัดการโรงเรียนกีรออาตี(ดารุลมุฮาญีรีน)  ชุมชนตลาดเมืองใหม่ จ.ยะลา : กรณีศึกษาชุมชนตลาดเมืองใหม่
    คณะผู้วิจัย: นางสาวรีนา  และแดง และนางสาวอะตีกะห์  ยาลอ

  9. การบริหารจัดการสหกรณ์ร้านค้าบ้านโคกพะยอม
    คณะผู้วิจัย: นางสาวรอซีด๊ะ เฮ็ง

  10. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนของเทศบาลเมืองนราธิวาส  กรณีศึกษาชุมชนกำปงปายง
    คณะผู้วิจัย: นายมารุยูกี รานิง แลนางสาวมัซก๊ะ รานิง

  11. บทบาทของมุสลีมะห์บ้านตะโล๊ะกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน
    คณะผู้วิจัย: นายมูหัมมะริดวาน  เล๊ะนุ๊ และนายอับดุลรอห์มาน  สอและ

  12. บทบาทของวัดตานีนรสโมสรฯ กับการสร้างสมานฉันท์ในตำบลอาเนาะรู ภายใต้บริบทพหุวัฒนธรรม
    คณะผู้วิจัย: นางสาวอัญชลี  แสงเพชร และนายปิยะ สาลาสุตา

  13. มัสยิดกับการบริหารจัดการชุมชนตามวิถีอิสลาม
    คณะผู้วิจัย: นายฮัสบุลเลาะ  ตาเฮ  นายอัสรีย์  ยา  นายมูฮำมัดซากี  มามะ นายมะยา  มามะ และนายมะดิง  อารง

  14. รูปแบบการก่อตั้งกลุ่มเพื่อพึ่งพาตนเองของชุมชนบ้านตะโละซูแม
    คณะผู้วิจัย: นางสาวมาซีเต๊าะ  บีมา และนางสาวจุฑามาศ  แตมาสา

  15. รูปแบบการบริหารจัดการกองทุนสวัสดิการชุมชน ( บ้านตะโละซูแม)
    คณะผู้วิจัย: นางสาวอามีเน๊าะ  ลมมา และนางสาวซาฮานีมูเก็ม

  16. ศึกษาบทบาทมัสยิดในการพัฒนาชุมชนกรณีศึกษามัสยิดดารูลมูฮายีรีน
    คณะผู้วิจัย: นายยูซุฟ ดอเลาะ และ นายอับดุลรอแม เซ็งมาดี




 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น